หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๘)
จากฉบับที่แล้ว ผู้เขียนได้พาท่านผู้อ่านย้อนรำลึกถึงประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาที่สำคัญที่สุดช่วงหนึ่งของประเทศไทย นั่นก็คือพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ในยุคต้นรัตนโกสินทร์ คือ รัชกาลที่ ๑ ที่...
พระสถูปเจดีย์ คือ สัญลักษณ์แสดงความรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนา
ร้างขาดการดูแล จนกระทั่งมีนักโบราณคดีทำการขุดค้นโบราณสถานต่าง ๆ ในอินเดีย...
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๒)
ผู้เขียนและคณะได้เรียบเรียงบทความที่สรุปโดยย่อ “เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา” ตั้งแต่ยุคเริ่มต้นจนถึงฉบับนี้ ยุคพุทธศตวรรษที่ ๑๙ นับเป็นเวลา ๑ ปีพอดีที่ได้นำเสนอสู่สายตาของเหล่าสมาชิกผู้ใจบุญทุกท่าน และเชื่อว่าคงเกิดภาพและความเข้าใจมากขึ้น ซึ่งผู้เขียนและคณะต่างปลื้มปีติที่ได้ประมวลเรื่องราวดี ๆ นี้ แล้วนำเสนอแด่ทุกท่านเป็นธรรมทาน
หลักฐานธรรมกาย ในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๗)
เดือนตุลาคมที่ผ่านมานี้ ผู้เขียนได้รับเชิญจากเจ้าภาพ คือ ประธานพุทธสมาคมจีนให้เข้าร่วมประชุม World Buddhist Forum ครั้งที่ ๔ ที่เมือง Wu Xi ซึ่งมีผู้แทนองค์กรชาวพุทธถึง ๕๒ ประเทศเข้าร่วมประชุมในครั้งนี้นับว่าเป็นนิมิตหมายที่ดีที่พุทธบริษัทจะมารวมเป็นหนึ่งเดียว ในช่วงนี้จึงเป็นโอกาสดีที่ผู้เขียนจะเดินทางไปเมืองซีอานอีกครั้งหนึ่ง
ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอนที่ ๓ บ่อเกิดของมารยาทไทย หมวดที่ ๑ สารูป
ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอนที่ ๓ บ่อเกิดของมารยาทไทย หมวดที่ ๑ สารูป (ข้อ ๓-๘)
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๖)
ผู้เขียนและคณะนักวิจัยของสถาบันดีรี (DIRI) เพิ่งเดินทางกลับจากประเทศนอร์เวย์และสหรัฐอเมริกา สืบเนื่องจากการลงนามสัญญาความร่วมมือทางวิชาการ ทั้งที่มหาวิทยาลัยออสโลและมหาวิทยาลัยวอชิงตันซึ่งทั้งสองสถาบันเป็นแหล่งที่มี ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Source) ของคัมภีร์พุทธโบราณอายุกว่า ๒,๐๐๐ ปี เป็นจำนวนมาก ที่ค้นพบในเขตคันธาระและแถบเอเชียกลาง ดังนั้นในฉบับนี้จึงขอนำเสนอเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในเขตคันธาระและแถบเอเชียกลาง
ศึกษาหลักฐานพุทธศิลป์...ย้อนแดนดินถิ่นอารยธรรม
ณ ริมฝั่งแม่น้ำภีมะ ห่างจากหมู่บ้าน Sannati ไปทางทิศตะวันออกประมาณ ๓ กิโลเมตร ในเขตรัฐกรณาฏกะ ทางตอนใต้ของประเทศอินเดีย องค์การสำรวจโบราณคดีอินเดีย หรือ ASI (Archaeological Survey of India) ได้ขุดค้นพบแหล่งโบราณคดีกนคนหลฺลิ (Kanaganahalli) ที่เชื่อว่าเป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนาสมัยราชวงศ์ศาตวาหนะ....
พาเที่ยว "เมืองทวาย"
เที่ยวเมืองทวาย เขตตะนาวศรี ขับรถท่องเที่ยวเมืองทวาย ทวาย หรือ ดะเว (Dawei or Tavoy) อยู่ที่ปากแม่น้ำทวาย รัฐตะนาวศรี ประกอบด้วย 3 เมือง คือ ทวาย มะริด หรือ มเยก (Myeik) ในภาษาพม่า และเกาะสอง หรือ ก๊อตาวน์ (Kawthaung) มีทวายเป็นเมืองเอก เป็นเขตเศรษฐกิจสำคัญของพม่า
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก โครงการพระไตรปิฎก วัดพระธรรมกาย มุ่งมั่นสำรวจ รวบรวมคัมภีร์ใบลานจากทั้ง 4 สายจารีตหลัก คือ คัมภีร์ใบลานอักษรสิงหล อักษรพม่า อักษรขอม และอักษรธัมม์ (ล้านนา, อีสาน) และศึกษาค้นคว้าคัมภีร์ใบลานดังกล่าวตามหลักวิชาคัมภีร์โบราณ แล้วจัดทำพระไตรปิฎกฉบับวิชาการขึ้น
ทองคำ คุณค่าแห่งทองคำ
ทองคำ ที่มีราคาขึ้นๆ ลงๆ ทุกวันนี้ ความจริงมนุษย์เราเห็นคุณค่าของทองมาเกือบ 6,000 ปีแล้ว แต่ทราบหรือไม่ว่าทำไมเราจึงเห็นคุณค่าของทอง? มาติดตามกัน...
วัดคงคารามดอนหวาย
วัดดอนหวายหรือวัดคงคารามดอนหวายตั้งอยู่ริมแม่น้ำนครไชยศรีโดยเฉพาะตลาดน้ำดอนหวายซึ่งเป็นแหล่งอาหารการกินและซื้อหาพืช ผัก ผลไม้ จากไร่สวนของชาวบ้านสองฟากฝั่ง
วิชชาธรรมกาย ผู้ค้นพบวิชชาธรรมกายของพระพุทธองค์
พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ผู้ค้นพบวิชชาธรรมกายของพระพุทธองค์ เมื่อ “ธรรมกาย” เกิดขึ้น วัดปากน้ำได้นับคำวิพากษ์วิจารณ์กันมาก บางพวกก็ปลื้มใจ บางพวกก็หนักใจ บางพวกก็ตั้งข้อกล่าวหาลงโทษวัดปากน้ำอย่างหนัก ถึงกับพูดว่า อวดอุตริมนุสธรรมก็มี ข่าวนี้มิใช่ท่านจะไม่รู้ ท่านได้ยินเสมอๆ แต่เสียงนั้นก็ไม่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนใจแก่ท่านแม้แต่เล็กน้อย ท่านกลับภูมิใจเสียอีกที่ได้ยินคำนั้น
หนังสือแจ้ง กรณี เมส อาแน็ค จากรัฐบาลอัฟกานิสถานล่าสุด มีนโยบายปกป้อง Mes Aynak
คณะกรรมมาธิการ การศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมสภาผู้แทนราษฎร(กมธ.) ได้หารือกับผู้แทนกระทรวงต่างประเทศ และล่าสุดได้ส่งหนังสือทางการแจ้งความคืบหน้า โดยกล่าวถึง รายงานจาก ฯพณฯ มาวิน ตันอรรถนาวิน เอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงอิสลามาบัด สาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน ระบุรัฐบาลอัฟกานิสถาน มีนโยบายที่จะรักษาโบราณสถานแห่งนี้
รัฐบาลอัฟกานิสถานยินดีอนุรักษ์โบราณสถาน
ขออนุโมทนาบุญในความร่วมแรงร่วมใจของทุกท่าน ที่ได้มีส่วนร่วมในการลงชื่อปกป้องพุทธสถาน เมส อาแน็ค จนทำให้ชาวโลกได้ตระหนักและหันมาช่วยกันดูแล ให้ความคุ้มครอง พุทธสถานอันล้ำค่านี้เอาไว้
นักวิชาการร่วมค้านเปลี่ยนแหล่งอารยธรรม "เมส อาแน็ค"เป็นเหมืองทองแดง
นักวิชาการไทยร่วมค้านเปลี่ยนแหล่งอารยธรรม "เมส อาแน็ค" ในอัฟกานิสถานเป็นเหมืองทองแดง ชี้เป็นสถานที่สำคัญประเมินค่าด้วยเงินไม่ได้ เล็งล่ารายชื่อผู้คัดค้านส่งยูเนสโก ด้าน "เชฟหมี ครัวกากๆ" เผยโบราณสถานคือสมบัติของทุกคน ควรรักษาความรู้และความรู้สึกของคนโบราณไว้ ขณะที่เยาวชนจัดตั้ง "กลุ่มเอสมาไทย" แสดงพลังคัดค้านด้วย
สื่อไทยลงข่าว "ชาวพุทธลุกฮือคุ้มครอง Mes Aynak" Update ทุกวัน
วันนี้ 13 พ.ย. 2555 ที่หน้าสำนักงานองค์การสหประชาชาติ กรุงเทพฯ หรือยูเอ็น น.พ.พรชัย พิญญพงษ์ ประธานองค์การยุวพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก พร้อมด้วยเครือข่ายชาวพุทธมายื่นหนังสือและชุมนุมคัดค้านการทำลายพุทธสถาน Mes Aynak ในประเทศอัฟกานิสถาน
Mes Aynak ความเป็นไปได้สู่การขึ้นเป็นมรดกโลก
เบื้องลึก เบื้องหลัง ความเป็นมาของการขุดเจาะเหมืองทองแดงภายในโบราณสถานเก่าแก่ Mes Aynak
รูปภาพสำหรับ Mes Aynak
ภาพโบราณวัตถุที่สำคัญในโบราณสถานแห่งดินแดนอัฟกานิสถาน Mes Aynak
Mes Aynak พุทธสถานแห่งเส้นทางสายไหม - รวมภาพ Mes Aynak
Mes Aynak ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของกรุง Kabul ประเทศอัฟกานิสถาน Mes Aynak เป็นมรดกอันล้ำค่าที่เก็บรักษาสิ่งมีค่าทางพระพุทธศาสนาอย่างประเมินค่ามิได้ แต่สถานที่นี้จะถูกปรับเปลี่ยนเป็นเหมืองทองแดงตั้งแต่ภายในเดือนธันวาคม 2555 นี้ ซึ่งเป็นการย่ำยีหัวใจชาวพุทธเพื่อแลกกับประโยชน์ในเชิงพาณิชย์เพียงเท่านั้น
วัดมเหยงคณ์
วัดมเหยงคณ์ เป็นที่เย็นกายเย็นใจของผู้ได้มาถึง เสมือนได้เข้าสู่มหานครโบราณ ที่สงบร่มเย็นทั้งด้วยบรรยากาศธรรมชาติและด้วยธรรมะปฏิบัติ